โครงการพัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (TSQP) รุ่นที่ 1 ปี 2562-2564
“คุณค่าของหนังสือเล่มนี้ ที่เป็นปฐมภูมิคือ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ การเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) และวิธีเผชิญวิกฤติโควิด-19 เพื่อเอาชนะสภาพการสูญเสียการเรียนรู้ (Learning loss) จาก การที่นักเรียนไม่ได้ไปเรียนที่โรงเรียน คุณค่าเชิงทุติยภูมิ คือ การสื่อสารต่อผู้รับผิดชอบระบบการศึกษาไทย ตามที่ ผมตีความ (ที่ไม่รับรองว่าตีความถูกต้อง)”
ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประธานคณะอนุกรรมการโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง สำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
“ประเด็นการเรียนรู้ที่ถดถอย หรือ Learning loss เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องได้รับการเติมเต็ม ทั้งหมดนั้นเป็น ความท้าทายของโรงเรียนที่ต้องปรับวิธีการเพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาในปัจจุบัน การดำเนินงานในปีที่ 3 โครงการ ได้เน้นในเรื่องของความยั่งยืน (Sustainability) และการขยายผล (Scalability) เพราะหลังจากนี้โรงเรียนเอง จะต่อยอดพัฒนางานที่ได้ทำมาท้ัง 3 ปี โดยมีต้นสังกัดเข้ามามีบทบาทช่วยเหลือให้โรงเรียนสามารถพัฒนาตนเอง ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน รวมถึงยังสามารถแบ่งปัน แลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับเครือข่ายได้”
ดร.นรรธพร จันทร์เฉลี่ย เสริบุตร
ประธานมูลนิธิโรงเรียนสตาร์ฟิชคันทรีโฮม
925
0